บ้านไม้หลังคาจั่ว
บ้านไม้หลังคาจั่ว เสน่ห์ความธรรมชาติที่ไปต่อได้ในอนาคต
บ้านไม้หลังคาจั่ว หลังคาทรงจั่ว เป็นแบบหลังคาบ้าน ที่มีเอกลักษณ์และเป็นทรงพื้นฐานที่พบ เห็นได้ทั่วไปในประเทศไทย ลักษณะทรงหลังคาเป็นหน้าจั่วสามเหลี่ยมยาว ไปตลอดทั้งอาคารมีด้านปะทะลมสองด้านและด้านลาดชันสองด้าน ซึ่งองศาความลาดเอียง ของทั้งสองฝั่งอาจ จะเท่าหรือไม่เท่ากันก็ได้ เมื่อมองจากไกล จะมองเห็น ทรงหลังคาเป็นรูปสามเหลี่ยม
หลังคาทรงจั่วเหมาะกับ บ้านประเภทที่ เป็นแบบหลังคาบ้านของไทยมาตั้งแต่ยุคโบราณ เพราะเหมาะกับการสร้าง บ้านในสภาพอากาศร้อนชื้น นอกจากนิยมใช้เป็นหลัง บ้านเรือนไทยแล้ว หลังคาทรงจั่ว ยังประยุกต์ใช้กับบ้านแบบสมัยใหม่ได้หลากหลาย เช่น หลังคาทรงจั่ว กับบ้านปูนเปลือย หรือหลังคาสองสองชั้นทรงจั่ว
การเลือกหลังคาที่จะช่วยให้บ้าน เย็นประกอบไปด้วย รูปแบบ วัสดุที่ใช้มุง และสีของหลังคา ซึ่งจะมีวิธีเลือกอย่างไรนั้น อาร์ต เทค โฮม ได้รวบรวมมาให้คุณแล้ว รูปทรงหลังคาบ้าน มีหลายแบบ หลายทรงด้วยกัน การเลือกใช้ไม่ว่าจะทรงไหน ต้องคำนึงถึงทั้งแบบ บ้านที่เข้ากัน และสภาพอากาศในพื้นถิ่น จัดสวนในพื้นที่บ้าน
หลังคาทรงจั่ว เป็นรูปแบบหลังคาทรง มาตรฐานที่พบเห็น ได้ทั่วไปในประเทศไทย ลักษณะทรงหลังคา เป็นหน้าจั่วสามเหลี่ยม ยาวไปตลอดทั้งอาคาร มีด้านปะทะลมสองด้าน และด้านลาดชันสองด้าน ซึ่งองศาความลาดเอียงของทั้งสองฝั่งอาจ จะเท่าหรือไม่เท่ากัน ก็ได้ เมื่อมองจากระยะไกลจะมองเห็นทรงหลังคา เป็นรูปสามเหลี่ยม บ้านเดี่ยว

แบบบ้านไม้หลังคาจั่วสไตล์ Modern Barn
บ้านในออสเตรเลียยังคง มีอะไรให้เราประหลาดใจได้เสมอ ไม่ใช่ความหรูหราหรือความแปลกของรูปทรง แต่เป็นการนำสิ่งง่าย ๆ ความถ่อมตัว มาประกอบกันนำเสนออย่างพอดี คราวนี้เป็นคิวของ Bencallery architects ออกแบบบ้านให้มีเส้นสายที่ดูเรียบ ซ่อนอยู่หลังบ้านเก่า ที่สร้างมานานแล้วอย่างเข้ากัน ก่อให้เกิดเสน่ห์ที่ น่าจดจำเมื่อแรกเห็น
ภายในยังมีผิวของวัสดุ เน้นโชว์เนื้อแท้ เฉพาะงานไม้ที่นำเสนอความมีฝีมือของช่าง ความอบอุ่นอย่างทันสมัย และพื้นที่ที่จัดสรรที่น่าอยู่ตรงโจทย์ตรงใจ โปรเจ็กต์นี้ได้เปลี่ยนโฉม บังกะโลสไตล์แคลิฟอร์เนียดั้งเดิม โดยดึงดูดสายตาเข้าไปด้านในด้วยผนัง ไม้สีน้ำตาลที่ซ้อน ขึ้นมาในองศาเดียวกับหลังคาเดิม และช่องแสงที่ติด กระจกเฉียงตามแนว หลังคาที่เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมด้วยการใช้วัตถุ ดิบจากธรรมชาติในท้องถิ่น บ้านแฝด
ความสูงและวัสดุที่ไม่ได้ เด่นเกินหน้าเกินตาบ้านเก่า แสดงให้เห็นถึงความเคารพในคุณค่าของอาคาร เก่าและเพื่อนบ้าน ซึ่งอันที่จริงก็เป็นไปตามกฎหมายของหน่วยงานรัฐด้วย ที่จะมีรายละเอียด ข้อบังคับในการต่อเติมค่อนข้างเข้มงวดทั้งดีไซน์ ความสูง และวัสดุ เพื่อเน้นทัศนียภาพ โดยรวมของชุมชนให้สวยงาม
เมื่อเดินลึกเข้ามาทาง ด้านหลังบ้าน จึงจะเห็นส่วนต่อเติม สำหรับครอบครัวสมาชิกทั้งหมด 5 คนที่เป็นชาวแคมป์ตัวยง ที่มีไลฟ์สไตล์ความใกล้ชิดกับกิจกรรมกลางแจ้ง และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เจ้าของบ้านจึงต้องการบ้านที่ตอบโจทย์ชีวิตที่มี องค์ประกอบของแสงแดด และกระแสลมเพื่อสร้างความสบายตามธรรมชาติ และส่งเสริมความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกในครอบครัวภายในบ้าน

โดยการใช้ที่ว่าง พื้นที่เชื่อมต่อกลางแจ้ง และผนังกระจกให้แสงแบบกระจายเพื่อเชื่อมโยง บ้านเข้ากันกับการ เคลื่อนไหวของดวง อาทิตย์ในแต่ละช่วงของวัน
ชั้นล่างและห้องนอนชั้นหนึ่งเป็นเหมือนหลุมหลบภัยอันเงียบสงบ
ที่ใส่รายละเอียดอันน่า ดึงดูดใจของวิวท้องฟ้า สวน ทิวไม้ ผ่านผนังกระจกและช่องว่างความสูงสองเท่า Double Space ตรงข้ามสนามหลังบ้าน เชื้อเชิญจิตวิญญาณแห่ง การเป็นนักสำรวจกระจายเข้าสู่ภายใน แน่นอนว่าการมีส่วนเปิดกว้างต่อสาธารณะก็ต้อง ทำการควบคุมมุมมอง ของการเปิดเผยไปพร้อมกัน เพื่อความป็นส่วน ตัวในบางเวลาที่ต้องการ
สถาปนิกจึงใส่ระแนงไม้ ช่วยควบคุมความแรง ของแสงและการมองเห็นในส่วนหน้าอาคาร ความลึกของตัวบ้าน ที่ขยับเข้ามาข้าง ในช่วยปิดบังและเบลอขอบเขตด้านหลัง โดยมีผ้าม่านบางๆ สูงจากที่นั่งเบย์วินโดว์จรดเพดานเพิ่มความเป็นส่วนตัวในอีก

ห้องนั่งเล่น ห้องทานอาหาร และครัวที่เชื่อมต่อกันทั้งหมด ในแปลนบ้านแบบ open plan ที่เกิดเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ทำให้สมาชิกในบ้าน แวะเวียนเข้ามาใช้งานพร้อมกันได้ 5 คนอย่างสบายๆ และยังรองรับการมา เยือนของเพื่อน ๆ ปาร์ตี้ในวันพิเศษกับ แขกได้อีกจำนวนนับสิบ ๆ คนโดยไม่รู้สึกว่าอึดอัดคับแคบระดับ
วัสดุหลัก ๆ ในบ้านจะเป็นงานไม้
ไม่ว่าจะเป็นแผ่นบุไม้ Vic Ash พื้นไม้ Tas Oak และระแนง Vic Ash ที่อาบไล้ด้วยแสงธรรมชาติ แสดงถึงความอบอุ่นที่มีอยู่ในที่พักแห่งนี้ ตัดเส้นสายตาด้วยสีดำของกรอบประตูหน้าต่าง ของใช้ของแต่งบ้าน อาทิ ตู้ โคมไฟทรงเรขาคณิต โต๊ะ ที่ทำให้บ้านดูทันสมัย และมีมิติขึ้น
ในส่วนครัวนอกจากสวยด้วยไม้แล้วยังมีหน้าต่างบานเลื่อนยาวตลอดความยาวของเคาน์เตอร์ครัวโดยมีความกว้างมากกว่าสี่เมตร และอีกด้านเป็นช่องแสงใหญ่ๆ เหมือนตู้โชว์เพื่อดึงให้แสงและวิวเข้าสู่ภายในได้เต็มที่
วัสดุหลัก ๆ ในบ้านจะเป็นงานไม้ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นบุไม้ Vic Ash พื้นไม้ Tas Oak และระแนง Vic Ash ที่อาบไล้ด้วยแสงธรรมชาติ แสดงถึงความอบ แม้ว่าบ้านนี้จะเน้นพื้นที่ให้ บ้านแฝด
งานไม้แสดงฝีมืออันประณีตของช่างในท้องถิ่นได้อย่างดี
นอกจากนี้ความเป็นไม้ยัง เพิ่มสัมผัสที่นุ่มนวล ปลอดภัย เป็นวัสดุที่ปลูกทดแทนได้ ไม่สร้างความร้อน เพิ่มให้กับโลก และยังเป็นฉนวนปกป้องบ้านจากความร้อนในฤดูร้อน และความเย็นในฤดูหนาว ของออสเตรเลียได้ดี
แนวคิดกลยุทธ์เชิงพื้นที่ของบ้านนี้มีหลัก ๆ 4 อย่าง คือ ความสงบและหลบภัย ความลึกลับและการผจญภัย สถาปนิกจึงเติมความรู้สึกAdventure เล็กๆ น้อยๆ ด้วยการทำโถงบันไดแบบ open void มีราวกันตกเหล็กเส้นบาง ๆ เมื่อขึ้นไปชั้นสองจะพบกับระเบียงที่มีคานยื่นออกมาดูโปร่ง อิสระ และกระตุ้นความรู้สึกของความเบิกบานใจ ในขณะเดียวกันก็ดึงเอาความเชื่อมโยงทางสายตากับธรรมชาติที่อยู่ไกลออกไปเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของบ้าน

บนชั้นสองเต็มไปด้วยความโปร่ง เบาของกระจกที่เป็นส่วนประกอบใหญ่ ๆ หน้าต่าง และประตูกระจกที่นี่มีหลาก หลายรูปแบบ ทั้งบานเลื่อน บานคู่ หน้าต่างแบบติดตาย และบานเกล็ด ที่ส่งเสริมการระบายอากาศแบบไหลข้ามช่องตามธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญ ทุกบานมีกระจกสองชั้นเคลือบ Low-e Toughened พร้อม Argon Fill ซึ่งเป็นข้อกำหนดมาตรฐานของที่นี่
ในห้องนอนชั้นสองเหมือน ไม่มีผนัง เพราะแวดล้อมด้วยที่ว่างเชื่อมต่อพื้นที่ชั้นล่างและกระจกหลากรูปแบบ จากห้องนอนจึงสามารถรับแสงแดดและทิวทัศน์ด้วยผนัง ที่เปิด ปิด เพื่อรับลมได้ มองเห็นระเบียง วิวต้นไม้ใหญ่และท้องฟ้าในมุมสูงตรงจั่วบ้าน ปล่อยสายตาออก ไปได้ไกลโดยมีผ้าม่านเป็นตัวช่วยพรางแสงและบังสายตา
การออก แบบบ้านทรงจั่วโมเดิร์น ไม่มีชายคา สิ่งที่ต้องระวังคือฝนที่จะสาดเข้ามาทำร้ายบ้าน ได้ทุกทิศทาง จึงต้องมองหาวิธี ปกป้องตัวบ้านเอาไว้ด้วย อาทิการทำหลังคายื่น ออกมาในขณะที่ตัวบ้านขยับ ลึกเข้าไปข้างใน หลังคาจะทำหน้าที่เป็นกันสาด ปกป้องด้านนั้นๆ
ของบ้านโดยไม่ทำให้รูปทรงของบ้านเสียไป หรือจะใส่รางน้ำฝนซ่อนระหว่างปลายหลังคากับผนัง การเลือกวัสดุผนังที่ทนชื้น การใช้สีทาผนีังที่มีคุณสมบัติทนความชื้น เม็ดฝนไม่เกาะ ช่วยลดความชื้น สะสมบนผนังด้านข้างที่ไม่มีชายคา เป็นต้น
ข้อดีของหลังทรงจั่ว
• เป็นหลังคาที่สามารถ รับลมได้ดีที่สุด และก่อสร้างได้ง่ายกว่า หลังคาทรงอื่น บ้านจัดสรร
• มีพื้นที่ใต้หลังคามาก มวลอากาศใต้หลังคา จะทำหน้าที่เสมือนเป็นฉนวนอีกหนึ่งชั้น ช่วยกันความร้อน ไม่ให้เข้ามาภายในบ้าน
• ความลาดเอียงของหลังคา มีประโยชน์ในเรื่อง การถ่ายเทน้ำฝน ยื่นชายคาป้องกันแสงแดด มีช่องลมทรงสามเหลี่ยม เพื่อระบายความร้อน ได้ดีมากขึ้น
• รูปทรงลาดเอียงของหลังคา ทำให้อากาศมีการไหลเวียน ดึงเอาอากาศเย็นจากภายนอกเข้ามาช่วย ระบายความร้อนภายใน
ด้วยเหตุนี้ หลังคาทรงจั่ว จึงเหมาะกับสภาพ อากาศบ้านเรา ที่ร้อนมากกว่าหนาว อีกทั้งหากมีการวาง ทิศทางที่เหมาะสม ยังช่วยรับลม ประจำถิ่นได้ด้วย