บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว

บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว
บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว

บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว เรียบง่ายแต่สะกดสายตา

บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว หลังคาทรงจั่ว เป็นแบบหลังคา บ้านที่มีเอกลักษณ์และเป็นทรงพื้นฐาน ที่พบเห็นได้ทั่วไป ในประเทศไทย เมื่อมองจากที่ไกลๆ จะมองเห็นทรงหลังคา เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยลักษณะทรงหลังคาเป็นหน้าจั่วสามเหลี่ยมยาวไปตลอด ทั้งอาคารมีด้าน ปะทะลมสองด้าน และด้านลาดชันสองด้าน ซึ่งองศาความลาดเอียงของ ทั้งสองฝั่งอาจจะเท่า หรือไม่เท่ากันก็ได้

การก่อสร้างบ้าน ส่วนหลังคา นอกจากเป็นส่วนประกอบ สำคัญที่ช่วยป้องกันแดด ลม และน้ำฝน แล้ว แบบหรือรูปทรงหลังคา ยังเป็นส่วนที่ช่วยให้บ้านดูโดดเด่นสวยงาม หลังคาทรงจั่ว เป็นหนึ่งในแบบหลังคา บ้านที่ได้รับความนิยมและพบเห็น ได้ทั่วไปในบ้านเรา

หลังคาทรงจั่ว เหมาะกับบ้านเป็นแบบ หลังคาบ้านของไทยมาตั้งแต่ยุคโบราณ เพราะเหมาะกับการ ก่อสร้างบ้าน ที่อยู่ในภูมิภาคที่มี สภาพอากาศร้อนชื้น โดยเฉพาะเป็น หลังบ้านเรือนไทยแล้ว หลังคาทรงจั่ว ยังประยุกต์ใช้กับบ้านแบบสมัยใหม่ ได้หลากหลาย เช่น หลังคาทรงจั่วกับ บ้านปูนเปลือย หรือหลังคา สองสองชั้นทรงจั่ว

บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว

ไอเดียบ้านหลังคาจั่วสมัยใหม่อยู่กลางสวน

Parkside Residence เป็นโครงการต่อเติม จากบ้านร่วมสมัยขนาดเล็ก แต่โดดเด่นในย่านชาน เมืองมรดกของแอดิเลด สถาปนิกหล่อเลี้ยง และสานต่อคุณค่าอันเป็น เอกลักษณ์ของชีวิตส่วนตัว ของครอบครัวนี้อย่างถ่อมตัว พร้อมด้วยจิตวิญญาณของชุมชนที่น่า ดึงดูดใจ และกำลังพัฒนาของ Parkside โดยการใช้ชุดสี และเส้นสายที่ทำให้บ้านดูโมเดิร์น ในขณะที่บรรยากาศภาพรวมของบ้านก็ยังดูเป็นมิตร เชื่อมต่อกับสภาพแวดล้อมได้คล้ายๆ กับที่มีอยู่แล้วในบ้านเดิม แต่การใช้งาน และการอยู่อาศัยสบายขึ้น บ้านจัดสรร

ห้องกระจกในสวนบรรยากาศ น่าเดินเล่นนี้เป็น ส่วนต่อเติมจากบ้านเก่า แนวคิดก็มาจากวิลล่าเดิมที่สร้างไว้ในยุค 1880 ที่อยู่ติดกัน ทั้งรูปแบบ ขนาด ระยะร่น โครงหลังคา การใช้โทนสีร่วมสมัยที่เรียบง่าย แต่วัสดุที่มีกระจกเข้ามาเป็นส่วนเสริมมากขึ้น บ้านและสวนได้รับการจัดเตรียมเพื่อสะท้อนถึงความรักในธรรมชาติของเจ้าของ รสนิยมที่ทันสมัย ​​วิถีชีวิตของครอบครัว ที่มีพลังและเปล่งประกาย พร้อมจับมือบ้านเก่าก้าวไปสู่อนาคต

บ้านหลังคาจั่วชั้นเดียว

บ้านเก่าที่สร้างมาก่อนมีรั้วโปร่งๆ ทำสวนไว้เป็น กันชนหน้าบ้านที่เป็นมิตร ตัวบ้านชั้นเดียวหลังคาจั่วง่ายๆ ใช้วัสดุอิฐสีอ่อน ๆ เป็นหลัก ให้ความรู้สึกอบอุ่นใจตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้เห็น บ้านใหม่และเก่ารูปร่างเหมือน ศาลาหน้าจั่วสองหลังตั้งฉากกัน แต่มีช่องว่างคั่นระหว่าง อาคารเล็กน้อย เพื่อให้มุมมองในช่องทสงเข้าและออก ในขณะที่สามารถรับภูมิทัศน์ โดยรอบที่แทรกซึมในบ้านได้แบบส่วนตัวขึ้น

ส่วนต่อเติมด้านหลังดีไซน์เส้นสายเรียบง่าย

หลังคาทรงจั่วที่สะท้อน สถาปตยกรรมเดิม แต่ทำให้องศาไม่เท่าเพื่อให้ดูแปลก ผนังและประตูบ้าน เป็นกระจกทั้งหมด ทำให้พื้นที่ด้านหลังเปิดโล่งและโปร่งแสง หน้าต่างกระจกสูงจากพื้น จรดเพดานช่วยสร้าง พื้นที่สว่างและกว้างขวาง ประตูสามารถเปิดได้อย่างสมบูรณ์ ขจัดทุกขอบเขต เพิ่มความรู้สึกในการเชื่อมต่อกับภายนอก ทำให้เจ้าของบ้าน ได้สัมผัสกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ต้นไม้ หรือแม้แต่ การดูดาวจากภายในบ้าน ซึ่งเป็นสิ่งที่บ้านเก่าไม่มี บ้านแฝด 

ฟังก์ชันในส่วนนี้จะประกอบ ด้วยครัวแบบเปิด ห้องนั่งเล่นที่ลดระดับลงไปเ็กน้อย ลึกเข้าไปเป็นห้องทานข้าว ซึ่งเป็นส่วนใช้งานสาธารณะ ที่ทุกคนเข้ามาทำกิจกรรมร่วมกันได้ วัสดุที่ใช้หลัก ๆ นอกจากกระจก และโครงเหล็กแล้ว ยังมีฝ้าเพดานไม้โอ๊คแทสเมเนียนเพิ่ม ความอบอุ่น และสัดส่วน อิฐโทนสีขาว แต่งแต้มสีเขียว ให้เข้ากับสีของธรรมชาติ รอบบ้าน และโทนของบ้านเดิม

ในส่วนหลังของ บ้าน ที่ไม่ต้องกังวลสายตา ผู้คนจะเปิดกว้าง ได้ตามใจชอบ ส่วนที่ต้องการความเป็นส่วนตัว อาทิ ห้องนอนอยู่ด้านหน้าบ้าน และเก็บตัวมากขึ้น รับประกันความเป็นส่วนตัว ที่เหมาะสมกับการใช้งาน

ตกแต่งสวยๆ

นอกจากการโต้ตอบระหว่างพื้นที่ภายนอกและภายใน

ที่มีกระจกขนาดใหญ่ เป็นตัวกลางแล้ว การเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ในบ้านก็มีความสำคัญเช่นกัน ภายในจัดแปลนเป็นแบบ open plan ลดผนังที่ไม่จำเป็นให้มากที่สุด เพื่อให้การเคลื่อนที่ จากมุมหนึ่งไปยังอีก มุมหนึ่งมีความลื่นไหล แม้บ้านจะมีพื้นที่ไม่มากนัก แต่กลับให้ความรู้สึก ของความกว้าง ต่อเนื่อง ไม่ติดขัด ลดข้อจำกัดของ บ้านเดิมได้หมด

บ้านนี้เป็นความสมดุล ของรูปแบบ และฟังก์ชันการทำงาน (form and function) มีทั้งอดีตและปัจจุบัน ทัศนียภาพที่สวยงามทั้งสองด้าน และอัตลักษณ์ ที่ Parkside Residence วางตำแหน่งตัวเอง ให้กลายเป็นดาวเด่นดวงเล็ก ๆ ในชุมชนที่พยายาม บอกเล่าเรื่องราว ของตนเอง แต่ยังเคารพตัวตนของผู้อื่นไปพร้อมๆ กัน บ้านเดี่ยว

บ้านยุคก่อนจะให้ควาสำคัญ กับการปกป้องพื้นที่ ภายในจากสภาพแวดล้อมเป็นหลัก ผนังจึงค่อนข้างทึบ จากการก่อด้วยอิฐฉาบปูน หรือวัสดุอื่นๆ ส่วนภายในจะแบ่งเป็นห้อง เล็กห้องน้อยที่ทำให้ แต่ละฟังก์ชัน เป็นสัดส่วน แต่ก็ทำให้บ้านดู แคบลงและมืด (ในกรณีที่บ้านแคบ) บ้านยุคใหม่จึง แก้ปัญหานั้นด้วยการทำแปลนแบบ open plan ลดการใช้ผนังที่ไม่จำเป็น สร้างการเชื่อมต่อระหว่างกัน ทำให้บ้านดูกว้าง สบายขึ้น ส่วนผนังบางจุดเปลี่ยน จากวัสดุทึบเป็นกระจก เพิ่มพื้นที่รับแสงพร้อม กับเบลอขอบเขตระหว่าง ภายในภายนอก เพิ่มความสุนทรี ระหว่างใช้ชีวิตมากขึ้น

ออกแบบโทนสีขาว

ฮวงจุ้ยของหลังคาจั่วหน้าบ้าน

ตามหลักฮวงจุ้ยนั้น เชื่อกันว่าอะไรที่มีลักษณะแหลมคม อย่างเช่นสามเหลี่ยมที่มีมุมแหลมเป็นลักษณะที่อันตราย เหมือนลูกศรที่พุ่งเข้าใส่ อาจทำให้ผู้อยู่อาศัยเจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุได้ มาดูกันดีกว่าครับว่าจั่วหน้าบ้านแต่ละแบบส่งผลอะไรบ้าง

1.หลังคาทรงจั่ว 2 จั่วชนกัน
ใครที่ทำหลังคาทรงจั่วแบบ 2 จั่วชนกัน จะส่งผลให้ตอนฝนตกน้ำจะไหลลงมาปะทะกันแรงตรงร อยต่อของหลังคา เสี่ยงทำให้เกิดปัญหาหลังคารั่วซึม เสียหาย หรือน้ำฝนทะลักได้ เมื่อมาดูตามหลักฮวงจุ้ย จะเชื่อว่าจะส่งผลให้กระแสชี่ไหลกระทบกันแรง บ้านอาจได้รับความเสียหาย ผู้คนในบ้านอาจเกิดเหตุทะเลาะเบาะแว้ง หรือไม่ลงรอยกันได้ เปรียบเหมือนแรงกระแทกกันเวลาที่ฝนตกลงมากระทบกัน แถมยังเชื่อว่ายังทำให้เสีย ทรัพย์สินเงินทองออกได้ง่ายๆ แบบทรงหลังคาด้วย phuket property

แต่เมื่อมองตามหลัก ของสถาปัตยกรรมแล้ว โครงสร้างหลังคาบ้านแบบนี้ อาจทำให้เกิด ความชื้นที่ผนังบ้าน เพราะน้ำที่ไหลปะทะกัน ตอนฝนตกอาจไปกระทบกับผนังปูนจนอาจเกิดความชื้นได้

2.หลังคาแบบจั่วซ้อนจั่ว
หลังคาแบบจั่วซ้อนจั่ว เป็นหลังคาจั่วหน้าบ้าน ที่ดูสวยงามมากๆ แต่ทางฮวงจุ้ยถือว่าไม่ค่อยเป็นมงคลเท่าไร เนื่องจากดูเป็นการเสริมแรงพิฆาต ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อทั้งคนในบ้าน และบ้านที่อยู่ตรงข้ามบ้านด้วย

3.หลังคาทรงจั่วหันข้าง
หลังคาทรงจั่ว หันข้างนั้น เป็นหลังคาที่ไม่ได้ หันจั่วหน้าบ้านไปทางประตูทางเข้าออกของบ้าน โดยเมื่อมองจากประตูหน้า บ้านจะเป็นบ้าน เป็นแนวข้าง เห็นหลังคาทรงจั่วแบบหันข้าง ทำให้หลังคาทรงแบบนี้ ลักษณะแบบนี้ไม่จะส่งผลเสียต่อในทางฮวงจุ้ย

วิธีแก้ฮวงจุ้ยหลังคาจั่วหน้าบ้าน

ตามปกติแล้วหลังคาที่ถูกต้อ งและเป็นมงคลตามหลักฮวงจุ้ยนั้น เป็นหลังคาที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน ทั้งหลังคา Slab, หลังคาปั้นหยา หรือจะเป็นจั่วและหมาแหงนก็ได้ แต่จะต้องเป็นผืนเดียวกันตลอด ไม่ควรทับซ้อนหรือมีหลังคาหลายชั้นมากเกินไป ซึ่งเมื่อมองในเชิงสถาปัตยกรรม การที่เราก่อสร้างหลังคาที่มีความซับซ้อน ซ้อนทับ หรือไม้เป็นแผ่นเดียวกัน จะทำให้เกิดปัญหารั่วซึมได้ง่าย ดูแลรักษายาก แถมยังอาจกลายเป็นรังนกได้อีกด้วย

เรามาดูกันดีกว่าครับถ้าตามหลักฮวงจุ้ยแล้วหากเราสร้างหลังคาหน้าจั่วในแบบที่ไม่เป็นมงคลไปแล้ว เราจะแก้ไขได้อย่างไรบ้าง

1.ทำหลังคาจั่วหน้าบ้านให้ฝั่งหนึ่งใหญ่ ฝั่งหนึ่งเล็ก
หากหลังคาบ้านเราเป็นหลังคาจั่วหน้าบ้านแบบหลังคาทรงจั่ว 2 ชั้นชนกันที่เวลาฝนตกอาจเกิดการกระแทกกันบริเวณรอยต่อ เราสามารถแก้ไขได้ด้วยการทำหลังคาอันหนึ่งให้เป้นอันใหญ่ และอีกอันหนึ่งให้เป็นขนาดเล็กลงมา เพื่อลดการประทะ ส่วนตัวผู้อยู่อาศัยในบ้านหรือเจ้าบ้านควรจะอยู่ในหลังคาฝั่งที่เป็นหลังคาใหญ่ๆ

2.ติดรางน้ำฝน
การติดตั้งรางน้ำฝนที่หลังคาจั่ว จะช่วยลดแรงปะทะของน้ำที่จะตกลงมาให้ไหลไปในทิศทางของคนในบ้าน เชื่อว่าจะลดปัญหาเงินไหลออกได้ เนื่องจากน้ำฝนที่ไหลลงมาเป็นตัวแทนของเงินทอง ฉะนั้นถ้าเราดักเงินทองที่ไหลลงมาได้ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องเงินไหลออก รวมถึงยังลดแรงปะทะของน้ำที่ไหลลงมาไม่ให้พุ่งเข้าสู่ตัวบ้านด้วย

3.แขวนลูกแก้วคริสตัลไว้ใต้ชายคาหรือรางน้ำฝน
การแขวนลูกแก้วคริสตัลไว้ใต้ชายคาหรือใต้รางน้ำฝนในตำแหน่งหัวและท้ายของรางน้ำหรือชายคาอย่างละลูก เชื่อว่าจะเป็นสัญลักษณ์ของการตัดเส้นแบ่ง และลดพลังอัปมงคลให้บ้านได้

ข้อดีของหลังคาทรงจั่ว

-หลังคาทรงจั่ว จะมีพื้นที่ใต้หลังคามาก มวลอากาศใต้หลังคาจะทำหน้าที่เสมือนเป็นฉนวนอีกหนึ่งชั้น ช่วยกันความร้อนไม่ให้เข้ามาภายในบ้าน

-ความลาดชันของ บ้านหลังคาทรงจั่ว หรือยื่นชายคาให้มีระยะมากขึ้น ก็จะสามารถกันแดดกันฝนได้ดีมากขึ้น

-เป็นหลังคาที่สามารถรับลมได้ดีที่สุด และก่อสร้างได้ง่ายกว่าหลังคาทรงอื่น

Leave a comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *